วันอาทิตย์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

แบบเสนอโครงการวิจัย (Research project)
ประกอบการเสนอของบประมาณรายได้ประจำปีงบประมาณ 2559
………………………………………

ชื่อโครงการวิจัย การออกแบบพัฒนาอัตลักษณ์สำหรับน้ำมันมะพร้าว ตรา coconut oil
            Designing, developing brand identity for coconut oil coconut oil.

ส่วน ก : ลักษณะโครงการวิจัย
ประเภททุนวิจัย
ทุนอุดหนุนการวิจัยกำหนดเรื่องหรือตามนโยบายของผู้บริหาร
ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาความรู้ใหม่
ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่องานสร้างสรรค์และสิ่งประดิษฐ์
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ
ทุนอุดหนุนการวิจัยตามยุทธศาตร์ของมหาวิทยาลัย
ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
ทุนอุดหนุนการวิจัยปฏิบัติในชั้นเรียน
ความสอดคล้องของแผนยุทธศาตร์
ระบุความสอดคล้องของประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มเรื่องการวิจัย
มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ประจำปีงบประมาณรายได้ พ.. 2557 (กรุณาระบุความสอดคล้องเพียง 1 ยุทธศาสตร์ ที่มีความสอดคล้องมากที่สุด โดยโปรดดูรายละเอียดในผนวก ค)

ประเภททั่วไป ข้อ 3. การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น การวิจัยที่เกี่ยวกับโครงการพระราชดำริฯ และการวิจัยเชิงพื้นที่รับผิดชอบของมหาวิทยาลัยฯ เช่น จตุจักร ลาดพร้าว บางเขน และจังหวัดลพบุรี

ส่วน ข : ข้อมูลผู้วิจัย
สถานภาพผู้วิจัย
สายวิชาการ                   สายสนับสนุนวิชาการ
คณะผู้วิจัย (ที่ปรึกษาโครงการ,ผู้วิจัย,ผู้ร่วมวิจัย)
1.    ชื่อ - นามสกุล ผู้ช่วยศาตราจารย์ ประชิด ทิณบุตร ที่ปรึกษาโครงการวิจัย อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาตร์และสังคมศาตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม

บทบาทหน้าที่ : ให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับเทคนิควิธีด้านการวิจัย การแสวงหาความร่วมมือในการศึกษาข้อมูล วิธีการเก็บข้อมูลภาคสนาม การออกแบบเอกลักษณ์สินค้า รูปแบบการอ้างอิงตามระบบมาตรฐานและการจัดพิมพ์รูปเล่มรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์

2.    ชื่อ - นามสกุล  นาย ธนสรณ์ แสงศรี  หัวหน้าโครงการวิจัย

บทบาทหน้าที่ : หัวหน้าผู้ดำเนินการวิจัยตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสิ้นสุดโครงการ อันได้แก่ การวางแผน การดำเนินงาน การเงิน การดำเนินงานและการควบคุมการดำเนินการออกแบบพัฒนาสร้างสรรค์ การผลิตผลงานต้นแบบโครงสร้าง การอภิปราย การสรุปผลและเผยแพร่ผลงานวิจัยทุกระยะ กระทั่งได้ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์แล้วเสร็จ



จุดมุ่งหมาย
           
            …./…. สร้างองค์ความรู้    …… เพื่อนำไปแก้ปัญหา  ……. การกำหนดนโยบาย
          ……เพื่อพัฒนาประดิษฐ์และจดสิทธิบัตร


ส่วน ข : องค์ประกอบการจัดทำโครงการวิจัย

ประเภทการวิจัย
   การพัฒนาทดลอง

สาขาวิชาการและกลุ่มวิชาที่ทำการวิจัย
             สาขาปรัชญา

สาขาวิชาการและกลุ่มวิชาที่ทำการวิจัย
               การออกแบบ (Design) อัตลักษณ์ (Identities) สำหรับ (for) น้ำมันมะพร้าว (Coconut oil) แบรนด์ (Brand) แสงศรี แบรน (Sangsri Brand) น้ำมันมะพร้าว(coconut oil)
ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย

            เนื่องจากแบรนด์ผลิตภัณฑ์ในจังหวัดลพบุรีมีจำนวนมาก มีสินค้าที่น่าสนใจมากมาย น้ำมันมะพร้าวก็ด้วย ทั้งสินค้าที่ได้รับการพัฒนาแล้วและได้เป็นสินค้า OTOP ของจังหวัดลพุรี แต่ก็ยังมีแบรนที่ยังไม่ได้รับการพัฒนา ทางเราจงได้ลงพื้นที่ไปหาและได้พัฒนาอัตลักษณ์ให้เป็นแบรนด์ของเราเอง โดยใช้ชื่อ “coconut oil” ซึ่งเป็นแบรนด์ที่ทำเกี่ยวกับการมักผม และนวดในสปาทางเราจึงจะต้องการพัฒนาและอัพเกรดแบรนด์ของตัวเองให้ติดตลาด เพื่อเพิ่มยอดขายให้ตัวผลิตภัณฑ์ของตัวเอง ทั้งนี้โครงการวิจัยนี้จึงต้องการพัฒนาโครงการวิจัยอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์จากชุมชนที่เคยลงพื้นที่ทำต่อยอดงานวิจัยสำหรับผู้ประกอบการแบบส่วนตัวให้เป็นของตัวเอง ได้ลงมือทำตัวผลิตภัณฑ์จริง ได้พัฒนาและออกแบบอัตลักษณ์สินค้าแบรนด์ตัวเอง เพื่อต่อยอดความรู้ทางด้านวิชาชีพที่เรียนจากรายวิชา ARTD2307 การออกแบบอัตลักษณ์


วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย

          5.1  เพื่อศึกษาพัฒนากระบวนการผลิตนำมันจากมะพร้าว

          5.2  เพื่อออกแบบอัตลักษณ์สำหรับน้ำมันมะพร้าว ตรา coconut Brand น้ำมันมะพร้าว

          5.3  เพื่อออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์สำหรับน้ำมันมะพร้าว ตรา coconut Brand น้ำมันมะพร้าว




ขอบเขตของโครงการวิจัย

          6.1  ขอบเขตด้านเนื้อหา การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาการออกแบบพัฒนากระบวนการด้่นการผลิตน้ำมันมะรุม  และการออกแบบอัตลักษณ์ให้กับน้ำมันมะพร้าว ตรา coconut Brand น้ำมันมะพร้าว
          6.2  ขอบเขตด้านสถานที่วิจัย 66/111.บางคู้ อ.ท่าวุ้ง จ.ลพบุรี
          6.3  ขอบเขตประชากรที่ศึกษา เป็นกลุ่มประชากรกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อันได้แก่ตัวแทนสมาชิก/ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน จากหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนจากภาคสังคม ผู้เชี่ยวชาญ/นักวิชาการทางการออกแบบสร้างสรรค์ และจากกลุ่มผู้บริโภคทั่วไป
          6.4  ขอบเขตด้านเวลา กำหนด 2 เดือน


ขอบเขตของโครงการวิจัย

          น้ำมันมะพร้าว  หมายถึงกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ที่ทำมาจากลูกมะพร้าวและน้ำมะพร้าว ธรรมชาติผ่านการกลั่น คั้น กรอง อย่างสะอาด และกระบวนการที่สอดคล้อง เพื่อมาทำเป็นน้ำมันผลิตภัณฑ์ด้านสปา


ทฤษฎี สมมุติฐาน และกรอบความคิดของโครงการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย 5 W 2 H


ตารางที่ 1.1 กรอบแนวความคิดการวิจัย 5 W 2 H

1.    What  (เนื้อหาการออกแบบ)

การออกแบบพัฒนาอัตลักษณ์สำหรับน้ำมันมะพร้าว ตรา coconut oil แบรนด์ Sangsri Brand

2.    Why  (จุดประสงค์)

เพื่อการออกแบบพัฒนาอัตลักษณ์สำหรับน้ำมันมะพร้าว ตรา coconut oil แบรนด์ Sangsri Brand


3.    When  (กรอบเวลา)

ตั้งแต่เดือนตุลาคม เดือนธันวาคม

4.    Where  (เป้าหมายและการออกแบบ)

เพื่อการออกแบบพัฒนาอัตลักษณ์สำหรับน้ำมันมะพร้าว ตรา coconut oil แบรนด์ Sangsri Brand




5.    Who  (ใคร)

สำหรับผู้ที่มีความสนใจด้านสปา

6.    How  (ขั้นตอนการทำงาน)

          -กำหนดเป้าหมาย
          -สืบหาข้อมูล
          -ลงพื้นที่สำรวจการวิจัย
          -รวบรวมข้อมูล
          -สรุปและวิจัยข้อมูล
          -เสนอผลงานการวิจัย

7.    How Much  (งบประมาณ)

งบประมาณ 10,000 บาท




ประโยชน์ของการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ
          9.1  เพื่อศึกษาพัฒนากระบวนการผลิตน้ำมันมะพร้าว
          9.2  เพื่อออกแบบพัฒนาอัตลักษณ์สำหรับน้ำมันมะพร้าว ตรา coconut oil แบรนด์ Sangsri Brand

          9.3  เพื่อพัฒนาสินค้าให้มีอัตลักษณ์เป็นของตัวเอง


วิธีการดำเนินการวิจัย  และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล

          10.1  วิธีดำเนินการวิจัย
ในกระบวนการดำเนินงงานศึกษาวิจัยเพื่อการออกแบบพัฒนานี้  เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสานเทคนิควิธีการพัฒนาทดลอง ตามหลักการและกระบวนการออกแบบสร้างสรรค์ เพื่อให้ได้ข้อมูลเบื้องต้นทางด้านการผลิต การสัมภาษณ์เชิงลึกในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อให้ได้ข้อมูลปัญหาที่แท้จริงด้านวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในการผลิตของผู้ประกอบการที่เคยไปลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลมา และดูความต้องการทางตลาดว่ามีผู้ที่ชื่นชอบการใช้ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับมะรุมมากน้อยแค่ไหน และมีการตัดสินเลือกสินค้าใช้เพราะเหตุใด
                   10.1.1  การศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อการผลิตน้ำมันมะพร้าว
                   10.1.2  ขั้นการกำหนดมโนทัศน์ผลิตภัณฑ์
                   10.1.3  ขั้นการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
                   10.1.4  ขั้นการผลิต
                   10.1.5  การสรุปและประเมินผล

          10.2  การศึกษาตัวแปร
                   ตัวแปรที่ศึกษาคือ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์น้ำมันมะพร้าว อย่างน้อย 5 แบบ
          10.3  ประชาการและกลุ่มตัวอย่าง
                   การตรวจสอบเพื่อประเมินภาพรวมผลงานการออกแบบพัฒนามาตรฐานคุณภาพและประสิทธิภาพของการดำเนินงานตามกรอบวิจัยนั้น ประกอบด้วย
-      ประชากรคือบุคคลทั่วไป
-      กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ผู้ที่สนใจผลิตภัณฑ์ด้านสปา
          10.4  เครื่องมือวิจัย
                   10.4.1  แบบสรุปบันทึก - สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
                   10.4.2  แบบสอบถามความคิดเห็นเพื่อประเมินมาตรฐานคุณภาพและประสิทธิภาพ
                   10.4.3  ต้นแบบเครื่องมือการผลิต ผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์น้ำมันมะพร้าว
          10.5  การเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีการดำเนินการดังนี้
                   10.5.1  การศึกษาข้อมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ภาคเอกสารและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องด้วยการ บันทึก รวบรวม จัดเก็บ แบ่งปันไฟล์ข้อมูลในระบบประมวลผลกลุ่ม
                   10.5.2  การสัมภาษณ์เชิงลึก
                   10.5.3  การบันทึกผลการพัฒนาทดลองตามขอบเขตและกรอบดำเนินการวิจัย
                   10.5.4  การมีส่วนร่วมวิพากย์ พิจารณาคัดเลือกแบบ เพื่อกำหนดเป็นต้นแบบมาตรฐาน
                   10.5.5  การใช้แบบสอบถามเพื่อประเมินค่าความคิดเห็นภาพรวมผลงานและการออกแบบตามแนวคิดกรอบวิจัย

          10.6  การวิเคราะห์และประมวนผล
                   10.6.1  โดยวิธีการบรรยายพรรณา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผลตามขั้นตอนของการศึกษาเอกสาร หลักฐานตามขั้นตอนและกระบวนการวิธีของการออกแบบ
                   10.6.2  วิเคราะห์ ประเมินและรวบรวมประเด็น ความเห็นและความต้องการงานออกแบบของกลุ่มประชากรตัวอย่าง โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย เพื่อสังเคราะห์และสรุปเป็นข้อมูลประกอบการสร้างสรรค์และประกอบการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

ระยะเวลาการทำวิจัย และแผนการดำเนินงานตลอดโครงการวิจัย
                   ทำการวิจัยเป็นระยะเวลา 1 ปี โดยมีแผนปฏิบัติการเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้
1.    การศึกษารวบรวมข้อมูลเพื่อการกำหนดคุณลักษณะ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์น้ำมันมะพร้าว coconut oil
2.    ขั้นตอนกำหนดมโนทัศน์ผลิตภัณฑ์
3.    ขั้นตอนการออกแบบพัฒนาทดลองใช้เครื่องมือ การผลิตผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
4.    ขั้นการผลิต
5.    การสรุปประเมินผลและรายงานผลการศึกษาวิจัย

งบประมาณของโครงการวิจัย
                    งบประมาน 10,000 บาท

ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยทีี่คาดว่าจะได้รับ
                   13.1  ผลสำเร็จเบื้องต้น ซึ่งจะมีลักษณะ ดังนี้ คือผลสำเร็จจากการเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นที่ได้จาการวิจัยเชิงสำรวจ เชิงประจักษ์ ทำให้ได้ข้อมูลหลักฐานที่เป็นประโยชน์ต่อทุกภาคส่วน ดังเช่น
-      ได้ข้อมูลสรุปเป็นสารสนเทศความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากมะพร้าว
-      ได้ข้อมูลรูปแบบขบวนการผลิตน้ำมันมะพร้าว
                   13.2  ผลสำเร็จกึ่งกลาง ซึ่งจะมีลักษณะ ดังนี้ คือผู้ประกอบการได้รับรับความรู้แนวคิดและได้มีส่วนร่วมพัฒนาทดสอบ ทดลองสร้างสรรค์ผลงานต้นแบบ ของอุปกรณ์เครื่องมือ วิธีการผลิตผลิตภัณฑ์ และสร้างรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์สินค้าน้ำมันมะพร้าว ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย อาทิเช่นแบบร่างทางความคิดการออกแบบพัฒนา ของการกำหนดคุณลักษณะผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ อาทิ แบบทางเลือก อย่างน้อย 2 แนวทางรูปแบบของผลงานการออกแบบ - เขียนแบบโครงสร้างและการออกแบบกราฟิก ตราสินค้า ตราสินค้า ภาพประกอบ ข้อมูลสำคัญทางการสื่อสาร เพื่อประกอบสินค้าและโฆษณาบนบรรจุภัณฑ์ เพื่อสามารถเป็นต้นแบบจริง ให้แก่ผู้ประกอบการตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
                   13.3  ผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ ซึ่งจะมีลักษณะ ดังนี้ คือ
-      ได้รู้กระบวนการผลิตน้ำมันมะพร้าวจากมะพร้าว บริสุทธิ์
-      ได้รู้วิธีการสกัดน้ำมันมะพร้าวแบบวิธีทันสมัย
-      ได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าวพร้อมบรรจุภัณฑ์ ที่มีต้นแบบผลงานการจัดอาร์ดเวิร์คทางการพิมพ์


ลงชื่อ ………….ธนสรณ์ แสงศรี………….หัวหน้าโครงการวิจัย
(นายธนสรณ์ แสงศรี)
1 พศจิกายน 2558

ส่วน ค : ประวัติผู้วิจัย
1.    ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นาย ธนสรณ์ แสงศรี  หัวหน้าโครงการ
ชื่อ - นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Mr.Thanasorn Sangsri
2.    หมายเลขประจำตัวประชาชน  1103701553308
3.    ตำแหน่งปัจจุบัน นักเรียนนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ระดับปริญญาตรี ปีที่ 3
4.    หน่วยงานและสถานศึกษาที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวก : สาขาศิลปกรรม ภาควิชา มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ถนนรัชดาภิเษก เขตจตุจักร กทม. 10900
            บ้านพักอาศัยปัจจุบัน  เลขที่ 39/451 หมู่บ้าน กรีนกาเด้นโฮม คลอง 11 ตำบล บึงน้ำรักษ์  อำเภอ ธัญบุรี จังหวัด ปทุมธานี 12110
5.    หมายเลขโทรศัพท์  -  , โทรศัพท์มือถือส่วนตัว 0939502038






















ภาคผนวก ก
ประเภทการวิจัย

ประเภทของการวิจัยประกอบด้วย 3 ที่มา
          1.การวิจัยที่มา เป็นการศึกษาค้นคว้าในทางทฤษฎี หรือในห้องทดลองเพื่อหาความรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับสมมุติฐานของปรากฎการณ์และความจริงที่สามารถสังเกตได้หรือเป็นการวเคราะห์หาคุณสมบัติโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ต่างๆ เพื่อตั้งทดสอบสมมุติฐาน ทฤษฎี และกฏต่างๆ โดยมิได้มุ่งหวังที่จะใช้ประโยชน์โดยเฉพาะ
          2.การวิจัยประยุกต์ เป็นการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลใหม่ๆ และมีวัตถุประสงค์เพื่อนำความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเป็นการนำเอาความรู้และวิธีการต่างๆที่ได้จาการวิจัยขั้นพื้นฐานมาประยุกต์ใช้อีกหนึ่ง หรือหาวิธีใหม่ๆ เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ได้ระบุไว้แน่ชัดล่วงหน้า
          3.การพัฒนาทดลอง เป็นงานที่ทำอย่างเป็นระบบ โดยใช้ความรู้ที่ได้รับจากการวิจัยและประสบการณ์ที่มีอยู่ เพื่อสร้างวัสดุ ผลิตภัณฑ์และเครื่องมือใหม่ เพื่อการติดตั้งกระบวนการ ระบบและบริการใหม่ หรือเพื่อการปรับปรุงสิ่งต่างๆ เหล่านั้นให้ดีขึ้น


ภาคผนวก ข
สาขาวิชาและกลุ่มที่ทำการวิจัย

          สาขาวิชาการ หมายถึง สาขาวิชาการ และกลุ่มวิชาของสภาวิจัยแห่งชาติประกอบด้วย
          สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาตร์ ประกอบด้วยกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ และสถิติ ฟิสิกส์ ดาราศาตร์ วิทยาศาตร์เกี่ยวกับโลกและอวกาศ ธรณีวิทยา อุกวิทยา สมุทรศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา ฟิสิกส์ ของสิ่งแวดล้อม และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
          สาขาวิทยาศาตร์เคมีและเภสัช ประกอบด้วยกลุ่มวิชา อินทรีย์เคมี อินทรีย์เคมีชีวเคมี เคมีอุตสาหกรรม อาหารเคมี เคมีโพลิเมอร์ เคมีวิเคราะห์ ปิโตรเลียม เคมีสิ่งแวดล้อม เคมีเทคนิค นิวเคลียร์เคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ เคมีชีวภาพ เภสัชเคมีและเภสัชวิเคราะห์ เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชกรรม เภสัชวิทยาและพิษวิทยา เครื่องสำอาง เภสัชชีวภาพ และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
          สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ประกอบด้วยกลุ่มวิชา ทรัพยากรพืช การป้องกันกำจัดศัตรูพืช ทรัพยากรสัตว์ ทรัพยากรประมง ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตร ระบบเกษตร ทรัพยากรดิน ธุรกิจการเกษตร วิศวกรรมและเครื่องจักรกลการเกษตร สิ่งแวดล้อมทางการเกษตร วิทยาศาตร์ชีวภาพและอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
          สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสหากรรมวิจัย ประกอบด้วยกลุ่มวิชา วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมวิจัยและอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
          สาขาปรัชญา ประกอบด้วยกลุ่มวิชา ปรัชญา ประวัติศาตร์ โบราณคดี ศิลปกรรม ภาษาสถาปัตยกรรม ศาสนา และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
          สาขานิติศาตร์ ประกอบด้วยกลุ่มวิชา กฎหมายมหาชน กฎหมสยเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายเศรษฐกิจ กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายวิธีพิจารณาความและอื่นๆที่เกี่ยวข้อง


                  

                       



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น